สาระน่ารู้เกี่ยวกับการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน

       สำหรับการรับเหมาก่อสร้างโรงงานนั้นได้รับความนิยมมากขึ้นในยุคปัจจุบัน เนื่องจากธุรกิจ SME หรือธุรกิจออนไลน์มีการเติบโตอย่างรวดเร็วส่งผลให้ผู้ประกอบการจำเป็นต้องก่อสร้างโรงงานเพิ่มเพื่อเพิ่มโอกาสในการขยายกำลังการผลิตให้กับสินค้าและบริการของตน ซึ่งถ้าหากมองเพียงผิวเผินก็จะคิดว่าการรับเหมาก่อสร้างโรงงานสามารถทำได้ง่ายไม่ยาก แต่แท้จริงแล้วการก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตก่อนที่จะสร้างสามารถก่อสร้างโรงงานได้

 

รับเหมาก่อสร้างโรงงาน   รับเหมาก่อสร้างโรงงาน

 

 

หากจะจ้างผู้รับเหมาก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องคำนึงถึงประเภทของโรงงานตามกฎหมาย ดังนี้


• โรงงานประเภทที่1  คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า และมีคนงานไม่เกิน 20 คน โรงงานประเภทนี้ สามารถดำเนินการได้เลยไม่ต้องขอใบอนุญาต
• โรงงานประเภทที่ 2 คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรมากกว่า 50 แรงม้า แต่ไม่เกิน 75 แรงม้า (50-75 แรงม้า) และมีพนักงานมากกว่า 50 คนแต่ไม่เกิน 75 คน ไม่ต้องขอใบอนุญาตในการจัดตั้ง แต่จะต้องทำการแจ้งการความจำนนในการประกอบกิจการและชำระค่าธรรมเนียมรายปี
• โรงงานประเภทที่ 3 คือ โรงงานมีเครื่องจักรมากกว่า 75 แรงม้า และมีพนักงานในโรงงานมากกว่า 75 คน โรงงานประเภทนี้จะต้องทำการขอใบอนุญาตในการจัดตั้งโรงงาน (ใบร.ง.4) เนื่องจากถือว่าเป็นโรงงานที่อาจก่อให้เกิดมลภาวะ


       **** เงื่อนไขในการจัดตั้งโรงงาน หากเป็นโรงงานจำพวกที่ 3 (โรงงานที่มีเครื่องจักรขนาด 75 แรงม้าขึ้นไป และ มีพนักงานมากกว่า 75 คน) รวมทั้งโรงงานประเภทที่ 1 และ 2 ที่ถูกจัดรวมเป็นจำพวกที่ 3 เพราะกิจการอาจก่อให้เกิดมลพิษ จะต้องทำการขออนุญาตจัดตั้งโรงงาน และขอใบอนุญาตประกอบกิจการ นั่นก็คือใบ ร.ง.4 ****

 

เอกสารสำหรับการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ได้แก่


• คำขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
• หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (สำหรับกรณีโรงงานที่จดเป็นนิติบุคคล และ คัดลอกสำเนาไม่เกิน 3 เดือน)
• สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน / หนังสือเดินทางของผู้ที่จะลงนาม
• หนังสือมอบอำนาจ (กรณีที่ไม่ได้มาดำเนินการด้วยตัวเอง)
• เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่จัดตั้งโรงงาน (โฉนดที่ดิน)
• แบบแปลนแผนผังอาคารภายในโรงงาน (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• แผนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักร (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• สำเนาหนังสืออนุญาตก่อสร้าง
• ขั้นตอนการผลิตโดยละเอียด
• เอกสารเพิ่มเติมอื่นๆ ที่เจ้าหน้าที่กำหนด


       **เอกสารดังกล่าวเป็นเอกสารเบื้องต้นในการยื่นเพื่อขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน นอกจากเอกสารเบื้องต้นแล้วอาจจะมีเอกสารเพิ่มเติมขึ้นอยู่กับประเภทของโรงงาน**

 

ขั้นตอนการไปยื่นเอกสารกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมตามจังหวัดที่โรงงานทำการจัดตั้ง ดังนี้


• ผู้ประกอบการทำการยื่นคำขอจัดตั้งโรงงาน (ร.ง.3) และ เอกสารสำหรับการขอใบอนุญาตให้เรียบร้อย
• เจ้าหน้าที่จะทำการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร และ สถานที่จัดตั้งโรงงาน ตั้งแต่กระบวนการผลิต การป้องกัน และ การบำบัด
• เจ้าหน้าที่จะทำการแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ประกอบการทราบ


       ***หากได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานได้จะต้องทำการชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาต และ จัดตั้งโรงงานภายในระยะเวลาที่ระบุเอาไว้ และ ในกรณีที่ไม่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานสามารถทำการยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมได้ภายใน 30 วัน***

       ดังนั้นถ้าหากโรงงานเป็นประเภทที่3 แล้วทำการจัดตั้งโดยไม่ได้มีใบอนุญาตจะถือว่าโรงงานได้ฝ่าฝืนกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน มีโทษจำคุก 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ หรือโรงงานของประเภทที่ 2 ต้องแจ้งความจำนนในการประกอบกิจการก่อนจัดตั้งโรงงาน หากฝ่าฝืนมีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ จะเห็นได้ว่าการขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน และ ประกอบกิจการมีความสำคัญอย่างมาก หากเป็นหนึ่งในผู้ประกอบการที่กำลังวางแผน หรือ คิดจะสร้างโรงงาน อย่าได้ละเลยกฎหมาย และ อย่าลืมที่จะขอใบอนุญาตก่อนจัดตั้งโรงงาน ไม่อย่างนั้นโรงงานคุณอาจจะเป็นโรงงานผิดกฎหมายได้ (ผิดกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน)

 


       บริษัท ช. มั่นคง บางบอน จำกัด ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตโครงสร้างสำเร็จรูป และติดตั้งโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูป โครงสร้างสําเร็จรูป precast ข้อได้เปรียบของการติดตั้งโครงสร้างสำเร็จรูป งบประมาณถูกกว่า สามารถติดตั้งเสร็จอย่างรวดเร็ว มีความมั่นคง แข็งแรง และปลอดภัย ที่ผลิตและควบคุมคุณภาพจากโรงงานที่ได้มาตรฐาน ผ่าน คานสำเร็จรูป QC. ทุกขั้นตอน เราพร้อมให้บริการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน รับก่อสร้างอาคาร รับก่อสร้างอาคารพาณิชย์ โดยผู้เชี่ยวชาญและทีมงานมืออาชีพที่พร้อมให้บริการลูกค้าด้วยความจริงใจ
---------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
มาทำความรู้จัก บริษัท ช.มั่นคง บางบอน จำกัด
ข้อควรระวังงานก่อสร้างด้วยระบบพรีคาสท์คอนกรีต
5 ข้อที่เจ้าของโกดังต้องรู้ก่อนการเริ่มปลูกสร้าง 

สาระน่ารู้เกี่ยวกับการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน

       สำหรับการรับเหมาก่อสร้างโรงงานนั้นได้รับความนิยมมากขึ้นในยุคปัจจุบัน เนื่องจากธุรกิจ SME หรือธุรกิจออนไลน์มีการเติบโตอย่างรวดเร็วส่งผลให้ผู้ประกอบการจำเป็นต้องก่อสร้างโรงงานเพิ่มเพื่อเพิ่มโอกาสในการขยายกำลังการผลิตให้กับสินค้าและบริการของตน ซึ่งถ้าหากมองเพียงผิวเผินก็จะคิดว่าการรับเหมาก่อสร้างโรงงานสามารถทำได้ง่ายไม่ยาก แต่แท้จริงแล้วการก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตก่อนที่จะสร้างสามารถก่อสร้างโรงงานได้

 

รับเหมาก่อสร้างโรงงาน   รับเหมาก่อสร้างโรงงาน

 

 

หากจะจ้างผู้รับเหมาก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องคำนึงถึงประเภทของโรงงานตามกฎหมาย ดังนี้


• โรงงานประเภทที่1  คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า และมีคนงานไม่เกิน 20 คน โรงงานประเภทนี้ สามารถดำเนินการได้เลยไม่ต้องขอใบอนุญาต
• โรงงานประเภทที่ 2 คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรมากกว่า 50 แรงม้า แต่ไม่เกิน 75 แรงม้า (50-75 แรงม้า) และมีพนักงานมากกว่า 50 คนแต่ไม่เกิน 75 คน ไม่ต้องขอใบอนุญาตในการจัดตั้ง แต่จะต้องทำการแจ้งการความจำนนในการประกอบกิจการและชำระค่าธรรมเนียมรายปี
• โรงงานประเภทที่ 3 คือ โรงงานมีเครื่องจักรมากกว่า 75 แรงม้า และมีพนักงานในโรงงานมากกว่า 75 คน โรงงานประเภทนี้จะต้องทำการขอใบอนุญาตในการจัดตั้งโรงงาน (ใบร.ง.4) เนื่องจากถือว่าเป็นโรงงานที่อาจก่อให้เกิดมลภาวะ


       **** เงื่อนไขในการจัดตั้งโรงงาน หากเป็นโรงงานจำพวกที่ 3 (โรงงานที่มีเครื่องจักรขนาด 75 แรงม้าขึ้นไป และ มีพนักงานมากกว่า 75 คน) รวมทั้งโรงงานประเภทที่ 1 และ 2 ที่ถูกจัดรวมเป็นจำพวกที่ 3 เพราะกิจการอาจก่อให้เกิดมลพิษ จะต้องทำการขออนุญาตจัดตั้งโรงงาน และขอใบอนุญาตประกอบกิจการ นั่นก็คือใบ ร.ง.4 ****

 

เอกสารสำหรับการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ได้แก่


• คำขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
• หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (สำหรับกรณีโรงงานที่จดเป็นนิติบุคคล และ คัดลอกสำเนาไม่เกิน 3 เดือน)
• สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน / หนังสือเดินทางของผู้ที่จะลงนาม
• หนังสือมอบอำนาจ (กรณีที่ไม่ได้มาดำเนินการด้วยตัวเอง)
• เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่จัดตั้งโรงงาน (โฉนดที่ดิน)
• แบบแปลนแผนผังอาคารภายในโรงงาน (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• แผนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักร (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• สำเนาหนังสืออนุญาตก่อสร้าง
• ขั้นตอนการผลิตโดยละเอียด
• เอกสารเพิ่มเติมอื่นๆ ที่เจ้าหน้าที่กำหนด


       **เอกสารดังกล่าวเป็นเอกสารเบื้องต้นในการยื่นเพื่อขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน นอกจากเอกสารเบื้องต้นแล้วอาจจะมีเอกสารเพิ่มเติมขึ้นอยู่กับประเภทของโรงงาน**

 

ขั้นตอนการไปยื่นเอกสารกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมตามจังหวัดที่โรงงานทำการจัดตั้ง ดังนี้


• ผู้ประกอบการทำการยื่นคำขอจัดตั้งโรงงาน (ร.ง.3) และ เอกสารสำหรับการขอใบอนุญาตให้เรียบร้อย
• เจ้าหน้าที่จะทำการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร และ สถานที่จัดตั้งโรงงาน ตั้งแต่กระบวนการผลิต การป้องกัน และ การบำบัด
• เจ้าหน้าที่จะทำการแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ประกอบการทราบ


       ***หากได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานได้จะต้องทำการชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาต และ จัดตั้งโรงงานภายในระยะเวลาที่ระบุเอาไว้ และ ในกรณีที่ไม่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานสามารถทำการยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมได้ภายใน 30 วัน***

       ดังนั้นถ้าหากโรงงานเป็นประเภทที่3 แล้วทำการจัดตั้งโดยไม่ได้มีใบอนุญาตจะถือว่าโรงงานได้ฝ่าฝืนกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน มีโทษจำคุก 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ หรือโรงงานของประเภทที่ 2 ต้องแจ้งความจำนนในการประกอบกิจการก่อนจัดตั้งโรงงาน หากฝ่าฝืนมีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ จะเห็นได้ว่าการขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน และ ประกอบกิจการมีความสำคัญอย่างมาก หากเป็นหนึ่งในผู้ประกอบการที่กำลังวางแผน หรือ คิดจะสร้างโรงงาน อย่าได้ละเลยกฎหมาย และ อย่าลืมที่จะขอใบอนุญาตก่อนจัดตั้งโรงงาน ไม่อย่างนั้นโรงงานคุณอาจจะเป็นโรงงานผิดกฎหมายได้ (ผิดกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน)

 


      เสาสำเร็จรูป  บริษัท ช. มั่นคง บางบอน จำกัด ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตโครงสร้างสำเร็จรูป และติดตั้งโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูป โครงสร้างสําเร็จรูป precast ข้อได้เปรียบของการติดตั้งโครงสร้างสำเร็จรูป งบประมาณถูกกว่า สามารถติดตั้งเสร็จอย่างรวดเร็ว มีความมั่นคง แข็งแรง และปลอดภัย ที่ผลิตและควบคุมคุณภาพจากโรงงานที่ได้มาตรฐาน ผ่าน QC. ทุกขั้นตอน เราพร้อมให้บริการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน รับก่อสร้างอาคาร รับก่อสร้างอาคารพาณิชย์ โดยผู้เชี่ยวชาญและทีมงานมืออาชีพที่พร้อมให้บริการลูกค้าด้วยความจริงใจ
---------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
มาทำความรู้จัก บริษัท ช.มั่นคง บางบอน จำกัด
ข้อควรระวังงานก่อสร้างด้วยระบบพรีคาสท์คอนกรีต
5 ข้อที่เจ้าของโกดังต้องรู้ก่อนการเริ่มปลูกสร้าง 

ทำไมต้องใช้ ยางไดอะแฟรม

       à¸¢à¸²à¸‡à¹„ดอะแฟรม ถือเป็นส่วนประกอบชิ้นนึงของไดอะแฟรมปั้ม (Diaphragm Pump) เนื่องจากปั้มจะสูบจ่ายของเหลวที่มีความเป็นกรด-ด่างสูง, ของเหลวที่มีความหนืด หรือของเหลวที่มีตะกอนปนอยู่ด้วย โดยตัวปั้มจะส่งกำลังผ่านแผ่นยางไดอะแฟรม (Diaphragm Rubber) และแผ่นยางไดอะแฟรม มีหน้าที่ตัดแยกระบบของฝั่งเครื่องจักรออกจากฝั่งของเหล็ก เพื่อไม่ให้ของเหลวสัมผัสกับชิ้นส่วนสำคัญต่างๆ ของปั้มโดยตรง 

 

ปั้มไดอะแฟรมประกอบด้วย


1. à¹à¸œà¹ˆà¸™à¸¢à¸²à¸‡à¹„ดอะแฟรม (Diaphragm Rubber)  โดยส่วนมากนิยมใช้เป็นแผ่นยางไดอะแฟรมแบบชิ้นเดียว (Single Diaphragm rubber) และแผ่นยางไดอะแฟรมแบบ 2 ชิ้น (Double Diaphragm rubber) เพื่อสลับกันผลักไป-กลับด้วยแรงกดอากาศ ยางไดอะแฟรมฝั่งหนึ่งจะถูกดึงเข้าสู่แกนกลาง ส่งผลให้ของเหลวถูกดูดเข้าไปในตัวปั้ม และยางไดอะแฟรมอีกฝั่งหนึ่งถูกผลักออกทำให้ของเหลวที่อยู่ในปั้มถูกผลักออกไปสู่ท่อออกต่อไป
2. เช็ควาล์ว (Check Valve) ทำหน้าที่ในการสร้างแรงดัน
3. ลูกสูบ (Plunger) ทำหน้าที่ในการส่งถ่ายกำลังจากมอเตอร์และชุดเกียร์
4. วาล์วระบายอากาศ (Air Release Valve) ทำหน้าที่ระบายอากาศออกจากห้องของเหลว
5. วาล์วเติมเต็ม (Replenishing Valve) ทำหน้าที่ระบายแรงดันบางส่วนออก เพื่อไม่ให้แผ่นยางไดอะแฟรมยางชำรุดหรือพังเสียหายจากภาระการใช้งานที่สูงเกินไป (Overload)
6. วาล์วตั้งค่าแรงดัน (Pressure Limiting Valve) ทำหน้าที่ตั้งค่าแรงดันของปั้มเพื่อนำไปใช้งานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม


       à¸—ั้งนี้แผ่นยางไดอะแฟรม(Diaphragm Rubber)  à¹€à¸›à¹‡à¸™à¸§à¸±à¸ªà¸”ุที่สำคัญชิ้นหนึ่งสำหรับปั้มไดอะแฟรม สามารถชำรุดหรือเสียหายได้ หากมีการใช้งานอย่างต่อเนื่อง และเกินกำลัง จึงจำเป็นต้องมีการเลือกใช้ชนิดยางของยางไดอะแฟรมให้เหมาะสมกับการใช้งาน รวมถึงรูปร่าง ลักษณะต่างๆ เช่น การเสริมผ้าใบเพื่อให้ยางไดอะแฟรมมีความแข็งแรงและทนทานมากขึ้น, การเลือกใช้แผ่นไดอะแฟรมเทปล่อนเพื่อการทนทานต่อสารเคมีชนิดตัวทำละลายเข้มข้น เป็นต้น

 

ยางไดอะแฟรม คืออะไร

 

       à¹„ดอะแฟรมยาง คือ ยางที่มีหน้าที่ดูด-อัดของเหลว เป็นสโตรก ทำให้ยางไดอะแฟรมมีความยืดหยุ่นสามารถทนความดันและสารเคมีได้ดี ซึ่งบริษัท เอส พี พี อินดัสเตรียลรับเบอร์ จำกัด เราเป็นโรงงานผลิตไดอะแฟรมยางชั้นนำ ที่มีประสบการณ์มากกว่า 40 ปี 

 

ยางไดอะแฟรมแบ่งเป็น 8 ชนิด ได้แก่


       1.ไดอะแฟรมยาง à¸Šà¸™à¸´à¸”กลมแบน โรงงานผลิตโอริง (Flat Diaphragm Rubber) มักใช้กับงานที่ไม่จำเป็นต้องใช้กรูหรือน๊อตยึดกับหน้าแปลน เหมาะสำหรับกับใช้งานที่ต้องรับแรงดัน สามารถเสริมผ้าใบได้ ตั้งแต่ 1 ชั้น เป็นต้นไป โดยพิจารณาจากค่าแรงดัน (Psi / Mpa / Bar)    

 

 
 

ไดอะแฟรมยาง


       2. à¹„ดอะแฟรมยาง ชนิดปะเก็น (Gasket Diaphragm Rubber) มักใช้กับงานที่จำเป็นต้องใช้สกรูหรือน๊อตเป็นตัวยึดติดกับหน้าแปลน เหมาะสำหรับกับใช้งานที่ต้องรับแรงดัน สามารถเสริมผ้าใบได้ ตั้งแต่ 1 ชั้น เป็นต้นไป โดยพิจารณาจากค่าแรงดัน (Psi / Mpa / Bar) 
 

 

 
 

ไดอะแฟรมยาง

 

 


 

      3. à¹„ดอะแฟรมยาง ชนิดโค้งนูน (Rolling Diaphragm Rubber) มักใช้กับงานที่จำเป็นต้องใช้สกรูหรือน๊อตยึดต่างระดับกันกับหน้าแปลนเครื่อง โดยรูในอาจจะสูง หรือเตี้ยกว่า รูรอบๆด้านข้าง ขึ้นอยู่กับโครงสร้างของเครื่องจักรในแต่ละรุ่น สามารถเสริมผ้าใบได้ ตั้งแต่ 1 ชั้น เป็นต้นไป โดยพิจารณาจากค่าแรงดัน (Psi / Mpa / Bar)

 

 
 

ไดอะแฟรมยาง

 

 


 

       4. à¹„ดอะแฟรมยาง à¸£à¸¹à¸›à¸–้วย (Cap Diaphragm rubber) มักใช้กับงานที่ต้องทนแรงดันโดยหน้าแปลนหรือโครงสร้างของเครื่องจักรมีความต่างระดับสูง ไดอะแฟรมลักษณะนี้จะทนแรงดันได้ไม่มากนัก ซึ่งนับเป็นไดอะแฟรมยาง ที่ผลิตยากที่สุดชนิดหนึ่ง เนื่องจากมีความบางของชั้นเนื้อยางและผ้าใบมาก พร้อมกับรูปทรงที่สูงเหมือนรูปถ้วย สามารถเสริมผ้าใบได้ ตั้งแต่ 1 ชั้น เป็นต้นไป โดยพิจารณาจากค่าแรงดัน (Psi / Mpa / Bar)·        

 

 
 

ไดอะแฟรมยาง


       5. à¹„ดอะแฟรมยาง à¸£à¸¹à¸›à¸ˆà¸²à¸™ (Plate Diaphragm Rubber) มักใช้กับงานที่ต้องทนแรงดันของเครื่องที่มีโครงสร้างเป็นแบบพื้นที่กว้าง และสูงเล็กน้อย ตามโครงสร้างของเครื่องจักรในแต่ละรุ่น สามารถเสริมผ้าใบได้ ตั้งแต่ 1 ชั้น เป็นต้นไป โดยพิจารณาจากค่าแรงดัน (Psi / Mpa / Bar)
 

 

 
 

ไดอะแฟรมยาง


        6.ไดอะแฟรมยาง ติดเทปล่อน (Diaphragm rubber bonded with Teflon) มักใช้กับงานที่ต้องสัมผัสกับสารเคมี หรือ กรด-ด่างชนิดต่างๆ โดยด้านหนึ่งจะเป็นเนื้อยางและอีกด้านหนึ่งประกบกับเทปล่อน (PTFE)
 

 

 
 

ไดอะแฟรมยาง


       7. à¹„ดอะแฟรมยาง โซลินอยด์วาล์ว ประกอบแสตนเลส และทองเหลือง (Diaphragm Rubber for Solenoid Valve)
 

 

·      

 

 

 
 

ไดอะแฟรมยาง

 

 


 

       8. à¹„ดอะแฟรมยาง ตามแบบ (Custom Diaphragm rubber) ลักษณะไดอะแฟรมยางจะเป็นตามรูปแบบโครงสร้างของเครื่องจักรในแต่ละรุ่น ซึ่งมีขนาดพิเศษ และลักษณะแตกต่างกับไดอะแฟรมยางทั่วไป สามารถเสริมผ้าใบได้ ตั้งแต่ 1 ชั้น เป็นต้นไป โดยพิจารณาจากค่าแรงดัน (Psi / Mpa / Bar)

 

 
 

ไดอะแฟรมยาง


 

     

       à¸”ังนั้นหากกำลังมองหาบริษัทรับผลิตยางอะไหล่เครื่องจักรทุกชนิด à¸šà¸£à¸´à¸©à¸±à¸— เอส พี พี อินดัสเตรียลรับเบอร์ จำกัด à¸£à¸±à¸šà¸œà¸¥à¸´à¸•à¸¢à¸²à¸‡à¸—ี่มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ได้แก่ โอริงซิลิโคน ปะเก็นยางซิลิโคน โอริงไวตัน ซีลยางไวตัน ซีลยางซิลิโคน ยางไดอะแฟรม ไดอะแฟรมยาง ยางซิลิโคน ยางกันกระแทก ท่อยาง ยางดูด ยางครอบหม้อแปลง ยางแผ่น หล่อลูกกลิ้ง ยางบัตเตอร์ฟลายวาล์ว เป็นต้น สนใจสั่งผลิตยางหรือสินค้าต่าง ๆ  คลิก

 

ไดอะแฟรมยาง


-----------------------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง 
โอริง คืออะไร ?
โอริงซิลิโคนคืออะไร มีคุณสมบัติที่สำคัญอะไรบ้าง
ยางกันกระแทก มีลักษณะการใช้งานอย่างไร  

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15